news on June 20, 2017, 07:29:06 AM


เทคโนโลยีพลิกโฉมสถานการณ์สู่ความสำเร็จของผู้ค้าปลีกในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก

โดย George Pepes, ผู้จัดการฝ่ายโซลูชั่นการค้าปลีก ซีบรา เทคโนโลยีส์ เอเชียแปซิฟิก


กรุงเทพ , ประเทศไทย 20 มิถุนายน 2017 – เรากำลังก้าวเข้าสู่ช่วงเวลาที่สำคัญในแวดวงธุรกิจค้าปลีก ในโลกยุคทางกายภาพและดิจิทัล ที่พัฒนาควบคู่ไปกับความก้าวหน้าในการเชื่อมต่อทางมือถือได้ทุกที่ ทุกเวลา ซึ่งเป็นการเร่งการปรับใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต ออฟ ธิงส์ (IoT)  สำหรับภาคธุรกิจค้าปลีกในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก บรรดาร้านค้าปลีกที่ยังปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ไม่ทันอาจจะสูญเสียลูกค้าไปได้

ในโลกของอุตสาหกรรมเดินหน้าเพื่อขยายการเติบโตการค้าปลีกที่หลากหลาย สำหรับอินเทอร์เน็ต ออฟ ธิงส์ (IoT) ได้ทำให้เกิดการเพิ่มขึ้นของประสิทธิภาพของผลผลิต ความสามารถในการมองเห็นสินค้าคงคลัง และความพึงพอใจของลูกค้า ซีบรา เทคโนโลยีส์ได้ทำการสำรวจการค้าปลีกในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกในปี 2560 โดยมีปัจจัยสำคัญ 3 ประการที่ทำให้เกิดผลกระทบเชิงลบต่อความพึงพอใจของลูกค้า ได้แก่ สินค้าไม่เพียงพอต่อความต้องการของผู้บริโภค สินค้าที่ราคาถูกกว่าที่อื่น และสินค้าที่ต้องการไม่ได้วางจำหน่ายในร้านนั้นๆ

แต่หากเรามองไปในผลลัพธ์เชิงบวกแล้ว เราสามารถรับมือกับความท้าทายเหล่านี้ได้เป็นอย่างดี บรรดาผู้ค้าปลีกจำเป็นต้องมองหาอุปกรณ์ที่อัจฉริยะที่สามารถสนับสนุนธุรกิจของตนได้ เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตออฟธิงค์ (IoT) เข้ามามีบทบาทสำคัญตั้งแต่หลังร้าน ซัพพลายเชน และในร้านค้า 

ในปัจจุบันนี้ ร้านค้าจำนวนมากพบกับความท้าทายในเรื่องความสามารถในการมองเห็นสินค้าคงคลัง (in-store inventory visibility challenges) ซึ่งสถานการณ์เช่นนี้ได้ทวีความรุนแรงมากขึ้นเนื่องจากผู้ค้าปลีกต่างเปิดร้านค้ามากขึ้น รวมทั้งการขยายธุรกิจร้านค้าไปยังตลาดต่างประเทศทำให้ธุรกิจต่างๆมีความหลากหลายด้วยช่องทางออนไลน์  ซึ่งมีความจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับการเข้าถึงซัพพลายเชนอย่างรวดเร็ว

จากการรายงานพบว่า มีจำนวนเงินกว่า 1 ล้านล้านดอลลาร์ทั่วโลกสูญหายไปเนื่องจากความไม่แน่นอนของสินค้าที่มีอยู่ในร้าน จำนวนสินค้าล้นสต็อค จำนวนสินค้าขาดตลาด และสินค้าที่มีจำนวนน้อยลง โดยบริษัท McKinsey & Company คาดการณ์ว่าจำเป็นต้องลดจำนวนสินค้าล้นสต็อคและสินค้าขาดสต็อค ซึ่งจะทำให้เราสามารถลดต้นทุนได้ถึง 10%

จากผลการศึกษาเรื่องการค้าปลีกในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกในปี2560 พบว่ามีจำนวน 68% ของผู้ค้าปลีกในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกต่างวางแผนที่จะเริ่มมองหาช่องทางการลงทุนในอินเทอร์เน็ต ออฟ ธิงส์  (IoT ) โดย พบว่ามีจำนวน 65 % จะลงทุนไปกับการเรียนรู้ทางด้านเครื่องจักรและระบบจดจำคอมพิวเตอร์  (Machine Learning/ Cognitive Computing) และ 57% จะลงทุนด้านการนำเครื่องจักรมาใช้แทนแรงงานคนในการทำงาน

ผู้ค้าปลีกต่างนำยกระดับการมองเห็นสินค้าคงคลัง  โดยการนำเครื่องจักรมาใช้แทนคนในการทำงานมาใช้ในซัพพลายเชน อ้างอิงจากผลสำรวจในปี 2564 พบว่ามี 73% ของผู้ค้าปลีกในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกต่างวางแผนที่จะนำเสนอซัพพลายเชนในรูปแบบใหม่ด้วยการมองเห็นแบบเรียลไทม์ ซึ่งสามารถทำได้โดยการนำเครื่องจักรมาใช้แทนการใช้แรงงานคนในการทำงาน ระบบเซนเซอร์ และการวิเคราะห์ข้อมูล

สำหรับเทรนด์การค้าปลีกแบบช่องทาง Omni-channel กำลังเข้าสู่รูปแบบ “ฟิจิทัล” สำหรับร้านค้าทางกายภาพได้กลายมาอยู่ในรูปแบบดิจิทัล อย่างไรก็ตาม แม้ว่าในปัจจุบันประเทศไทยจะเฟื่องฟูไปด้วยธุรกิจอีคอมเมิร์ซ (จากนักช้อปจำนวน 7.9 ล้านผู้คนในปี 2559) ทว่าร้านค้าแบบดั้งเดิมนั้นยังถือเป็นสิ่งสำคัญ ที่จะทำให้ประสบการณ์การบริโภคในร้านค้าเป็นไปอย่างธรรมชาติ ผู้ค้าปลีกต่างเพิ่มเทคโนโลยีเข้าสู่ร้านค้า เปลี่ยนพื้นที่ทั้งหมดให้เป็นร้านค้าที่ทันสมัย โดยใช้ความรู้สึกที่ทำให้สามารถจับสถานที่และการเคลื่อนไหวของทุกสิ่งได้อย่างแท้จริง

ไม่ว่าจะเป็นผู้ประกอบการ  ผู้บริโภค และสินทรัพย์ทั้งหลาย รวมทั้งการแปลข้อมูลดังกล่าวให้อ่านออกได้อย่างง่ายดาย ทำให้เกิดการแข่งขันในทิศทางบวก ร้านค้าแบบฟิจิทัลนั้นหลอมรวมโลกที่สมบูรณ์แบบทั้งสองใบเข้าด้วยกัน ทั้งโลกของความพึงพอใจของกายสัมผัสของร้านค้าแบบฟิจิทัลและความเป็นธรรมชาติของอีคอมเมิร์ซ

ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก 76% ของผู้ค้าปลีกต่างผสมผสานอีคอมเมิร์ซและประสบการณ์ในร้านค้าให้เป็นเรื่องเร่งด่วนในการประกอบธุรกิจ ซึ่งผลสำรวจไม่ได้ทำให้เราแปลกใจมากนัก 68% ของผู้ประกอบการรายย่อยในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกจะติดตั้งเซนเซอร์ที่สามารถตรวจสอบสินค้าคงเหลือได้ และอีก 76% จะจัดสรรระบบเซนเซอร์ในการติดตามลูกค้า ซึ่งช่วยให้ผู้ค้าปลีกสามารถทราบได้เมื่อมีลูกค้าเป้าหมายเข้ามาในร้านค้า ทำให้สามารถเตรียมการสำหรับลูกค้าแบบเป้าหมายที่มาเยี่ยมชมร้านค้าได้

ประสบการณ์การช้อปปิ้งแบบกำหนดเองของผู้บริโภคถือเป็นกุญแจสำคัญสำหรับการค้าปลีกแบบดิจิทัล ทั้งการตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคในเวลาที่ผู้บริโภคต้องการ บรรดาเว็บไซต์ช้อปปิ้งออนไลน์นั้นต่างเชี่ยวชาญในเรื่องนี้เป็นอย่างมากด้วยการบันทึกข้อมูลและการใช้ประโยชน์จากข้อมูลการจับจ่ายของผู้บริโภคทำให้ผู้ค้าปลีกสามารถอ้างอิงไปยังสินค้าหรือการบริการที่มีความคล้ายคลึงกัน เพื่อตอบสนองสิ่งที่ผู้บริโภคต้องการ

ในพื้นที่ทางกายภาพ บรรดาผู้ค้าปลีกต่างกำลังมองหาเทคโนโลยีการระบุพิกัดขนาดไมโครเพื่อค้นหาลูกค้าและเสริมสร้างประสบการณ์ส่วนบุคคลแก่พวกเขา ตัวอย่างเช่น บีคอนส์ ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่ได้รับการติดตั้งในจุดติดต่อดิจิทัลของร้านค้า เช่น ชั้นวางป้าย ชั้นโชว์ผลิตภัณฑ์และที่สามารถโต้ตอบกับสมาร์ทโฟนของลูกค้าผ่านสัญญาณบลูทูธพลังงานต่ำ บีคอนส์สามารถส่งสัญญาณในสภาพแวดล้อมที่สัญญาณและสามารถเข้าถึงเพื่อนำเสนอผลิตภัณฑ์กับลูกค้าหลายคนภายในร้านค้า ด้วยเทคโนโลยีอื่นๆ ที่ระบุพิกัด สามารถช่วยให้ติดตามลูกค้าที่เข้ามาในร้าน และเกิดการผลิตข้อมูลเป็นจำนวนมาก เช่น ผลิตภัณฑ์หรือหมวดหมู่ร้านค้าที่เคยจับจ่ายซื้อของเพื่อเพิ่มความต้องการและยอดขาย ซึ่งจะช่วยให้ผู้ค้าปลีกสามารถสร้างความเข้าใจเชิงลึกเกี่ยวกับพฤติกรรมการ
ช้อปปิ้งของลูกค้าและรูปแบบการซื้อสินค้า และทำให้ร้านค้าปลีกสามารถตัดสินใจได้อย่างชาญฉลาด เช่นการจัดเรียงผลิตภัณฑ์ที่ขายดีในลักษณะที่น่าสนใจมากขึ้น โดยแสดงในที่เห็นได้ชัดหรือเพิ่มระดับสินค้าคงคลัง

การวิเคราะห์ข้อมูลถือเป็นหัวใจสำคัญของการค้าปลีกแบบดิจิทัล โดยแบ่งกระบวนการออกเป็น 2 ส่วน ส่วนแรกเซนเซอร์จะรวบรวมข้อมูลดิบที่สร้างขึ้นจากแท็ก RFID วิดีโอและโทรศัพท์มือถือ

ส่วนที่สอง จะมีการนำซอฟต์แวร์ที่มีความซับซ้อนมาใช้เพื่อแปลเหตุการณ์เหล่านี้ให้เป็นข้อมูลเชิงลึกซึ่งสามารถนำข้อมูลที่ได้มาปรับปรุงการปฏิบัติงานของร้านได้ในทุกวัน โดยวิธีนี้จะมีการใช้บุคคลในการจัดการ ด้วยการรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ผ่านข้อมูลเพื่อตรวจสอบประสิทธิภาพในอดีตและกำหนดวิธีการปรับปรุงการดำเนินงานในอนาคต

อย่างไรก็ตาม แม้ว่าการวิเคราะห์ข้อมูลแบบดิจิทัลนั้นยังคงอยู่ในระยะเริ่มต้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ของร้านค้า แต่ทว่าในระยะยาวนั้นจะไม่มีข้อจำกัด  ซึ่ง 72% ของผู้ค้าปลีกในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ได้โหวตให้การจัดการข้อมูลบิ๊กดาต้า (Big Data) เข้ามามีบทบาทสำคัญทางธุรกิจ

เราจะเป็นผู้กำหนดคลื่นลูกต่อไปของร้านค้าดิจิทัล ในขณะที่อุตสาหกรรมต่างมองเห็นการผสมผสานระหว่างร้านค้าแบบกายภาพและออนไลน์ในไม่กี่ปีถัดมา สำหรับผู้ค้าปลีกในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกที่ต้องการแข่งขันกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง การเปิดรับเทคโนโลยีนั้นถือเป็นสิ่งสำคัญที่ต้องพิจารณาเป็นลำดับแรก ผู้ประกอบการหลายๆคนได้เริ่มเปิดรับเทคโนโลยีหรือบางคนอาจจะมีการวางแผนที่จะเพิ่มความสามารถผู้ทำงานระดับแนวหน้าด้วยการใช้เทคโนโลยี รวมทั้ง อุปกรณ์อินเทอร์เน็ตออฟธิงส์ (IoT ) เซนเซอร์การติดตาม การเชื่อมต่อ และเครื่องมือการวิเคราะห์ข้อมูล ยกตัวอย่างเช่น 86% ของผู้สำรวจแบบสอบถามต่างริเริ่มการวางแผนที่จะลงทุนในอุปกรณ์มือถือ ณ จุดขาย  ซึ่ง 84% ลงทุนกับคอมพิวเตอร์มือถือและสแกนเนอร์ 86% ลงทุนกับแท็บเล็ตและอีกกว่า 77% กับร้านค้าขนาดเล็กที่ตั้งไว้ในจุดที่ลูกค้ามักเดินผ่าน

บรรดาผู้ค้าปลีกในธุรกิจขนาดใหญ่ กลาง และเล็ก สามารถได้รับประโยชน์จากการเพิ่มขึ้นของทัศนวิสัยในการดำเนินงาน ร้านค้าปลีกขนาดเล็กยังสามารถเริ่มต้นด้วยระบบขั้นพื้นฐานที่เป็นเครื่องสแกนบาร์โค้ดและเครื่องพิมพ์ ร้านค้าปลีกขนาดกลางสามารถใช้คอมพิวเตอร์พกพาเช่น TC51 ของซีบรา เทคโนโลยีส์ เพื่อการจัดการสินค้าคงคลังในร้านค้าและผู้ค้าปลีกรายใหญ่สามารถใช้เทคโนโลยีระบบคลาวด์ (Cloud-Based) เพื่อเพิ่มความมั่นใจได้ว่าซัพพลายเชนกำลังทำงานได้เป็นที่น่าพอใจ

ด้วยการยกระดับการมองเห็น เช่นเดียวกับการสร้างโอกาสใหม่ๆ จะนำไปสู่การเพิ่มความสามารถในการจัดการและการผลิต การประหยัดราคา เพิ่มความพึงพอใจของลูกค้า และท้ายที่สุดและสำคัญที่สุด คือผลกำไรเพิ่มขึ้นต่อธุรกิจค้าปลีก ยุคที่น่าตื่นเต้นของธุรกิจด้านการค้าปลีกกำลังมาถึงแล้ว ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับโซลูชั่นค้าปลีกของ Zebra

เกี่ยวกับซีบรา เทคโนโลยีส์
ซีบรา (NASDAQ: ZBRA) ช่วยให้ธุรกิจประสบความสำเร็จและสามารถเชื่อมต่อกับโลกที่เราอาศัยอยู่ โดยมีโซลูชันการติดตามและการสอดส่องดูแล จะช่วยแปลงสภาพสิ่งที่จับต้องได้ให้กลายเป็นระบบดิจิทัล ซึ่งก่อให้เกิดกระแสการหลั่งไหลของข้อมูลที่องค์กรต้องการ เพื่อช่วยให้การดำเนินธุรกิจง่ายดายขึ้น เรียนรู้เกี่ยวกับธุรกิจได้มากขึ้น และเสริมสร้างประสิทธิภาพให้กับพนักงานที่ทำงานจากอุปกรณ์ไร้สาย สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมสามารถเข้าชมได้ที่ www.zebra.com
เผยแพร่ในนามของ ซีบรา เทคโนโลยีส์ โดย สปาร์ค คอมมิวนิเคชั่นส์
« Last Edit: June 20, 2017, 01:54:43 PM by news »

news on June 20, 2017, 01:56:02 PM


Technology buy-in critical for success of APAC retailers

By George Pepes, Retail Solutions Lead, Zebra Technologies Asia Pacific


BANGKOK, THAILAND – 20 June 2017 – We are entering a very crucial time in retail, as the blurring of the physical and digital worlds, paired with the ubiquity of mobile connectivity, are accelerating the adoption of the Internet of Things (IoT) in the APAC retail sector. Retailers who don’t evolve quickly enough will fall out of favor with shoppers.

In the industry’s push toward an omni-channel world, IoT promises to deliver gains in productivity, efficiency, inventory visibility and customer satisfaction – just to name a few. According to Zebra Technologies’ recent 2017 Asia Pacific Retail Vision Study, the three main factors negatively impacting shopper satisfaction are products being out-of-stock, lower prices available elsewhere and desired items being unavailable in-store.

On the bright side, there are solutions to these challenges. Retailers are increasingly looking to smart devices coupled with sensors to reinvigorate their business, and the benefits of IoT adoption can be reaped both at the backend of the store, namely the supply chain, and in stores.

Today, many retailers have in-store inventory visibility challenges. The situation is exacerbated as they open more brick and mortar stores, expand into overseas markets, and diversify their business with online platforms. The need for real-time supply chain visibility, therefore, becomes even more urgent.

Globally, $1.1 trillion dollars are lost due to inventory distortion, including overstock, stock-outs and shrinkage. McKinsey & Company estimates that reducing stock-outs and overstock alone can generate a 10% saving of inventory cost. 

According to the 2017 Asia Pacific Retail Vision Study, 68% of APAC retailers surveyed are planning to invest in the Internet Of Things, 65% in Machine Learning/ Cognitive Computing, and 57% in Automation.

Retailers can bring their inventory visibility to the next level by further automating the supply chain. Based on our study, by 2021, 73% of APAC retailers plan to reinvent their supply chain with real-time visibility enabled by automation, sensors and analytics.

The trends in omni-channel retail is to go “phygital” – for physical stores to become digital. Today, despite Thailand’s flourishing e-commerce business (7.9 million shoppers in 2016 ), brick-and-mortar stores are still an important turf to safeguard. To make the in-store shopping experience more intuitive and seamless, retailers are supplementing technology in their physical stores, turning the entire space into a smart store that automatically senses and records the location and movement of virtually everything — merchandise, associates, shoppers and assets — and translates that data into easy-to-read actionable intelligence that delivers real competitive advantage. The phygital retail space combines the best of two worlds – the tactile satisfaction of physical retail and the intuitiveness of e-commerce.

In APAC, 76% of retailers rate integrating e-commerce and in-store experiences as important/ business critical. It is little surprise, therefore, that 68% of APAC retailers will install sensors tracking status of inventory, and 76% will deploy sensors for tracking customer footpath and be able to know when specific customers are in the store and be able to customize the visit.

Personalized customer shopping experience is a key offering of digital retail. The promise lies in knowing what customers want in their precise moment of need. Online shopping websites do well at this, by recording and utilizing a customer’s purchase history to recommend similar products or services they might want.

In a physical space, retailers are turning to micro-locationing technologies to woo customers and customize a personalized experience for them. For example, beacons are outfitted across the store’s digital touchpoints like shelves, signs, and product displays, and can interact with customers’ smartphones via low-energy Bluetooth signals. These beacons deliver contextually relevant, in-store offers for different customers. Other locationing technology can help track the footprint of a given customer in the store and churn out data such as what products or sections of the store experience drive high traffic, and if they led to a sale. 

This will facilitate retailers to generate actionable insights on customer shopping habits and purchasing patterns. From there, retailers can make smarter decisions such as rearranging the store in a more appealing manner with the popular products displayed in obvious locations, or boosting inventory level for hot products.

Data analytics is at the heart of digital retail. The process consists of two components. First, the sensors collect large amounts of raw data generated from RFID tags, video, and mobile devices. Second, the sophisticated software is used to translate these events into actionable insights that can improve practically every aspect of everyday store operations. This does away with the manual labor of trawling through data to examine past performance and determine how to improve future operations.

Although digital data analytics is still nascent, especially in the retail space, its promise is boundless, with 72% of APAC retailers rating managing big data as important/ business critical.

The next wave of digital retail is upon us, as the industry continues to see the convergence of physical and online stores in the next couple of years. For APAC retailers who want to strive and thrive in this changing environment, adoption of technology should be a top priority. Many have already, or have plans to empower their frontline workers with technology, including IoT devices, tracking sensors, connectivity, and data analytics tools. For example, 86% of APAC respondents are planning to invest in mobile point-of-sale devices, 84% with mobile computers with scanners, 86% with tablets and 77% with kiosks.

Retailers of all sizes can benefit from increased operational visibility: mom-and-pop stores can start with a system as basic as a barcode scanner and printer, mid-sized retailers can tap into mobile computers such as Zebra’s TC51 for in-store inventory management, and large retailers can harness cloud-based systems to ensure that the supply chain is running optimally.

Enhanced visibility will address existing operational challenges, as well as create new opportunities, which will lead to increased productivity, cost-savings, customer satisfaction, and – ultimately – profitability. In the retail space, an exciting era awaits. Read more about Zebra’s retail solutions.

About Zebra
With the unparalleled operational visibility Zebra (NASDAQ: ZBRA) provides, enterprises become as smart and connected as the world we live in. Real-time information – gleaned from visionary solutions including hardware, software and services – give organizations the competitive edge they need to simplify operations, know more about their businesses and customers and empower their mobile workers to succeed in today’s data-centric world. For more information, visit www.zebra.com or sign up for our news alerts. Follow us on LinkedIn, Twitter and Facebook.